หลักการ เพิ่มความสูง อาหารเสริมทำให้สูงขึ้นได้อย่างไร ?
มิราคลาส เป็นสารอาหารที่ช่วยในการ เพิ่มความสูง โดยการ คัดสารอาหารที่จำเป็นต่อความสูงเท่านั้น อาทิ เช่น โปรตีนสกัดจากนม (เวย์โปรตีน) ถั่วเหลือง กรดอะมิโน แอลอาร์จินีน รวมถึง แคลเซียม โอเมก้า 3 วิตามิน D และสารอาหารอื่นๆ ล้วนเป็นสารอาหารที่ร่างกายนำไปสร้างความสูงให้กับร่างกาย ดังนั้นแล้ว หากในแต่ละวัน เราได้รับสารอาหารเหล่านี้ ไม่เพียงพอ ร่างกายก็จะเจริญเติบโตได้ช้ากว่าปกติ ทำให้ร่างกายไม่สูงนั่นเอง หากเราได้รับสารอาหารไม่พอ แนะนำ ลองหาตัวช่วยอย่าง ผลิตภัณฑ์มิราคลาส ตัวช่วยของคนอยากสูง ค่ะ เมื่อได้รับสารอาหารแล้ว หลักการ เพิ่มความสูง นั้นไม่ยากค่ะ ลองเข้าไปอ่านดูเลยค่ะ

1. การเสริมสร้างกระดูกอ่อน (Cartilaginous) ให้มีการเจริญเติบโตได้อย่างสมบูรณ์ด้วย “โปรตีนเข้มข้น” และ “คอลลาเจน” หลักการเพิ่มความสูง
หลักการ เพิ่มความสูง ความสูงของคนเรา ส่วนหนึ่งมาจากความยาวของกระดูกสันหลัง ซึ่งกระดูกสันหลังของคนเรานั้น จะมีทั้งหมด 24 ชิ้น แบ่งออกเป็นส่วนคอ 7 ชิ้น ส่วนหลังบริเวณอก 12 ชิ้น และส่วนกระดูกด้านข้าง 5 ชิ้น โดยกระดูกสันหลังจะแยกออกเป็น 2 ประเภท คือ ส่วนที่เป็นกระดูกแข็ง และส่วนที่เป็นกระดูกอ่อนที่อยู่ระหว่างกระดูกแข็ง ในส่วนนี้เรียกว่า “Disk” เป็นส่วนที่สามารถเจริญเติบโตได้เรื่อยๆ มีความหนาและบางแตกต่างกันไป เมื่อร่างกายได้รับสารอาหารจำพวกโปรตีนมากเพียงพอ ร่างกายก็จะทำการสังเคราะห์ให้กลายเป็น “คอลลาเจน” ใช้ในกระบวนการสร้างความหนาให้กับกระดูกอ่อนต่อไป ทำให้กระดูกสันหลังยืดขึ้นและทำให้เราสูงขึ้น

2. เพิ่มศักยภาพการสร้าง “โกรทฮอร์โมน (Growth Hormone)” ให้กับร่างกายด้วย กรดอะมิโน แอลอาร์จินีน (L-arginine)
การเพิ่มความสูงของคนเรา ส่วนหนึ่งมาจากการสร้าง “โกรทฮอร์โมน” ที่สมบูรณ์ โกรทฮอร์โมนจะหลั่งออกมามากที่สุดในช่วงที่เรานอนหลับสนิท ดังนั้นการที่เรานอนหลับอย่างไม่มีคุณภาพ เช่น นอนหลับไม่สนิท หลับยาก รวมไปถึงการนอนดึก จะทำให้ร่างกายไม่สามารถสร้างโกรทฮอร์โมนได้อย่างเต็มที่ ดังนั้นแล้ว การเสริมกรดอะมิโน แอลอาร์จินีน ซึ่งเป็นสารตั้งต้นให้กับร่างกายในการสร้างโกรทฮอร์โมน เมื่อร่างกายมีการสร้างโกรทฮอร์โมนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ก็จะส่งผลให้อัตราการเจริญเติบโตที่ดีขึ้นตามมา

3.กระตุ้นการเจริญเติบโตของกระดูกอ่อนส่วนปลายด้วย “Zinc”
กระดูกอ่อนส่วนปลายนับว่าเป็นส่วนสำคัญในการเพิ่มความหนาให้กับกระดูกอ่อน “Zinc” จึงถือเป็นวิตามินที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของกระดูก โดยเฉพาะกระดูกอ่อน ซึ่งในเด็กหากขาด Zinc ก็จะทำให้ร่างกายไม่เจริญเติบโต อยู่ในภาวะโตช้า เพราะนอกจากเรื่องกระดูกแล้ว Zinc ยังมีส่วนช่วยในการดูดซึมสารอาหารให้กับร่างกายอีกด้วย

4. ยืดกล้ามเนื้อด้วยการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
การออกกำลังกายด้วยการยืดเส้น เป็นกระบวนการยืดกล้ามเนื้อให้กับร่างกาย เพื่อรองรับการขยายตัวของกระดูกที่กำลังเจริญเติบโตขึ้น ต้องมีการเคลื่อนไหวทั่วทั้งร่างกาย อาทิ การกระโดดเอื้อมแตะสิ่งของที่สูงกว่า ว่ายน้ำ เล่นโยคะ ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมออย่างน้อย 30 – 45 นาทีให้เหงื่อออก ไม่แนะนำให้กระโดดเชือก หรือวิ่งหนักๆ เนื่องจากเป็นการเสริมสร้างกล้ามเนื้อให้แข็งแรง มากกว่าที่จะยืดให้สูงขึ้น

5. เสริมสร้างกระดูกอ่อนให้แข็งแรงด้วย “แคลเซียม” “แมกนีเซียม” และ “วิตามิน D3”
แคลเซียม แมกนีเซียม เป็นแร่ธาตุที่สำคัญและขาดไม่ได้ในการเสริมสร้างกระดูกให้แข็งแรง การที่ร่างกายจะได้รับแร่ธาตุทั้งสองชนิดนี้ จำเป็นต้องอาศัยวิตามินดีในการดูดซึม และสังเคราะห์เข้าสู่ร่างกาย อีกทั้งแคลเซียมยังมีส่วนช่วยในการทำงานของระบบประสาท เนื้อเยื่อ และกล้ามเนื้อในส่วนต่างๆ อีกด้วย
References:
Adachi JD, Bensen WG, Bianchi F, et al. Vitamin D and calcium in the prevention of corticosteroid induced osteoporosis: a 3 year followup. J Rheumatol 1996;23:995-1000.
Adachi JD, Ioannidis G. Calcium and vitamin D therapy in corticosteroid-induced bone loss: what is the evidence? Calcif Tissue Int 1999;65:332-6.
Ahee P, Crowe AV. The management of hyperkalaemia in the emergency department. J Accid Emerg Med 2000;17:188-91.
Akerstrom G, Hellman P, Hessman O, et al. Parathyroid glands in calcium regulation and human disease. Ann N Y Acad Sci 2005;1040:53-8.
Allender PS, Cutler JA, Follmann D, et al. Dietary calcium and blood pressure: a meta-analysis of randomized clinical trials. Ann Intern Med 1996;124:825-31.
Alvir JM, Thys-Jacobs S. Premenstrual and menstrual symptom clusters and response to calcium treatment. Psychopharmacol Bull 1991;27:145-8.
Anderson JJ. Calcium requirements during adolescence to maximize bone health. J Am Coll Nutr 2001;20:186S-91S.
Ariyan CE, Sosa JA. Assessment and management of patients with abnormal calcium. Crit Care Med 2004;32:S146-54.
Baeksgaard L, Andersen KP, Hyldstrup L. Calcium and vitamin D supplementation increases spinal BMD in healthy, postmenopausal women. Osteoporos Int 1998;8:255-60.